เมนู

[1437] 7. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม และ
อัปปมาณธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

4. อนันตรปัจจัย


[1435] 1. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรมที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ทั้งหลายที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน,
อาวัชชนะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตร-
ปัจจัย.
[1436] 2. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ จุติจิตที่เป็นปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่เป็นมหัคคต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นมหัคคต-
ธรรม.

บริกรรมแห่งปฐมฌาน ฯลฯ บริกรรมแห่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ
ฯลฯ.
บริกรรมแห่งทิพยจักษุ ฯลฯ บริกรรมแห่งอนาคตังสญาณ เป็นปัจจัย
แก่อนาคตังสญาณ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[1437] 3. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค,
โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค.
อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[1438] 4. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[1439] 5. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ จุติจิตที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่เป็นปริตต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

ภวังค์ที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของ
อนันตรปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นปริตต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[1440] 6. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ เนวสัญญานาสัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติของบุคคลผู้
ออกจากนิโรธ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[1441] 7. อัปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม
ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรมที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรมที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
มรรค เป็นปัจจัยแก่ผล, แก่เป็นปัจจัยแก่ผล ด้วยอำนาจของอนันตร-
ปัจจัย.
[1442] 8. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ผล เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นปริตตธรรม ด้วยอำนาจของ
อนันตรปัจจัย.

[1443] 9. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม
ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ผลเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นมหัคคตธรรม ด้วยอำนาจของ
อนันตรปัจจัย.

5. สมนันตรปัจจัย


เหมือนกับ อนันตรปัจจัย.

6. สหชาตปัจจัย


[1444] 1. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วย
อำนาจของสหชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ 1 ที่เป็นปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 3 และจิตตสมุฏ-
ฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ 2 ฯลฯ.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ, หทยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
มหาภูตรูป 1 ฯลฯ ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ.
[1445] 2. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ฯลฯ
คือ ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
มหัคคตธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
[1446] 3. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ฯลฯ